###

หมวดสินค้า

สินค้าโปรโมชั่น

มอเตอร์ 24VDC 250W 2650RPM (ราคาโปร 850 บาท) มอเตอร์ปั้มชัก DC สำหรับทำปั๊มชักสูบน้ำเพื่อการเกษตร
มอเตอร์ 24VDC 250W 2650RPM (ราคาโปร 850 บาท) มอเตอร์ปั้มชัก DC สำหรับทำปั๊มชักสูบน้ำเพื่อการเกษตร มอเตอร์ 24VDC 250W 2650RPM (ราคาโปร 850 บาท) มอเตอร์ปั้มชัก DC สำหรับทำปั๊มชักสูบน้ำเพื่อการเกษตร มอเตอร์ 24VDC 250W 2650RPM (ราคาโปร 850 บาท) มอเตอร์ปั้มชัก DC สำหรับทำปั๊มชักสูบน้ำเพื่อการเกษตร มอเตอร์ 24VDC 250W 2650RPM (ราคาโปร 850 บาท) มอเตอร์ปั้มชัก DC สำหรับทำปั๊มชักสูบน้ำเพื่อการเกษตร

มอเตอร์ 24VDC 250W 2650RPM (ราคาโปร 850 บาท) มอเตอร์ปั้มชัก DC สำหรับทำปั๊มชักสูบน้ำเพื่อการเกษตร

รหัสสินค้า: MT-26501 /มอเตอร์ 24VDC 250W 14A 2650RPM
คะแนนสะสม: 0
สถานะสินค้า: มีสินค้า
ราคา: 1,500.00บาท 850.00บาท
มอเตอร์เกียร์ทด 24VDC 250W 300RPM (ราคาโปร 1190 บาท เท่านั้น)สำหรับทำปั๊มชัก สูบน้ำเพื่อการเกษตร

มอเตอร์ 24VDC, มอเตอร์ 24 โวลท์ ดีซี 250W 2650RPM มอเตอร์ปั๊มชัก DC สำหรับทำปั๊มชัก สูบน้ำเพื่อการเกษตร

เป็นมอเตอร์ที่ทางร้านสั่งเข้ามาเพื่อนำมาใช้กับปั้มชัก,ปั้มเจท และปั้มอื่นๆที่จะต้องใช้มอเตอร์หมุน มาโดยเฉพาะ สามารถใช้งานร่วมกับระบบโซล่าเซลล์ได้โดยไม่ต้องต่อกับแบตเตอรี่เลยก็ได้ มอเตอร์รุ่นนี้สามารถนำมาใช้ได้กับทั้งระบบไฟหรือระบบโซล่าเซลล์ 12โวลท์ และ 24โวลท์
ยี่ห้อ/แบรนด์    Naite Motor
ประเภทชนิดมอเตอร์   ดีซี มอเตอร์ สกูตเตอร์
ขนาดกำลัง  24โวลท์ดีซี 250วัตต์
ความต้องการพลังงาน 12โวลท์ ดีซี, 24โวลท์ ดีซี
รอบที่ได้ 1300รอบ เมื่อใช้ไฟ 12โวลท์ดีซี       2650รอบ เมื่อใช้ไฟ 24โวลท์ดีซี

การนำมอเตอร์ดีซีขนาด 250W 24V ไปประกอบใช้งานในด้านต่า่งๆ สิ่งที่ต้องคำนึงถึงอย่างมากคือ
- มอเตอร์ที่นำมาใช้งานเหมาะสมกับงานหรือไม่
- พิจารณาถึงรอบของมอเตอร์ จะต้องสัมพันธ์กันกับความต้องการของตัวอุปกรณ์ เพื่อไม่เกิดการเสียหายหรือด้อยประสิทธิภาพในการใช้งาน
- พิจารณาแรงบิดของมอเตอร์ ต้องตรวจสอบอุปกรณ์ที่จะนำตัวมอเตอร์มาติดตั้งว่าใช้แรงบิดหรือรับน้ำหนักได้เท่าไหร่ เพื่อไม่ให้เกิดการโหลดใช้งานที่หนักเกินไปซึ่งจะทำให้มอเตอร์เกิดความเสียหาย
- พิจารณาระยะเวลาใช้งานต่อเนื่อง ซึ่งถ้าเลือกใช้งานมอเตอร์เล็กเกินไป จะทำให้มอเตอร์ร้อนเร็วและเสียหายได้

เทคนิคการนำมอเตอร์ดีซี 250W 24V มาใช้งานร่วมกับปั๊มชัก
จะเห็นได้ว่าปัจจุบันการเกษตรของเราได้มีการพัฒนาขึ้นมาอีกขั้นหนึ่งโดยนำระบบโซล่าเซลล์นำมาประยุกต์ดัดแปลงใช้งานโดยการนำมาประกอบกับปั๊มชัก ปั๊มเจ๊ต ปั๊มเพลาลอย เพื่อต่อกับระบบโซล่าเซลล์เพื่อดูดใช้น้ำฟรี ไม่ต้องใช้ไฟฟ้าและนำมันซึงช่วยลดต้นทุนทางการเกษตรไปได้มากทีเดียว สำหรับตอนนี้เราจะบอกเทคนิคในการประกอบปั้มชักง่ายๆโดยไม่ต้องซื้อสำเร็จจะประหยัดเงินได้พอสมควร แต่ถ้าใครไม่สะดวกประกอบเองก็สามารถหาซื้อได้ตามร้านจำหน่ายทั่วไป
การประกอบจะอธิบายง่ายๆแบบไม่ซับซ้อน(เพื่อไม่ต้องการให้ผู้ประกอบสับสนและดูยาก) ส่วนเจาะลึกในรายละเอียดทางเราจะโพสให้อีกครั้งนึง
1. วางแผนก่อนอันดับแรกว่าต้องการใช้น้ำมากน้อยและงบประมาณมากน้อยแค่ไหน

2. สำหรับมอเตอร์ขนาด 250W 24V ปั้มชักที่เหมาะสมคือขนาด 1นิ้วเท่านั้น ใหญ่กว่านั้นไม่เหมาะสม ไม่สามารถขับปั้มชักได้ ปั๊มชักขนาด 1นิ้วจะมีหลายขนาดลูกสูบ ก็เลือกกันไปตามความเหมาะสม
3. นำเอามอเตอร์มาถอดเฟืองเดิมออกเพื่อใสมู่เล่แทน(ทางร้านเรามี)
4. นำมอเตอร์ที่ใสมู่เล่แล้วนำมายึดบนฐานปั้มชักและนำสายพานขนาดพอดีใส่ปั้มชักและมอเตอร์เสร็จแล้วยึดน็อตให้แน่น
5. ลองเทสการหมุนของมอเตอร์โดยต่อเข้ากับระบบโซล่ราเซลล์ ซึ่งควรใช้แผงอย่างน้อย 300W จะต่อตรงเข้ามอเตอร์หรือผ่านแบตเตอรี่ก็ได้
6. เมื่อตรวจสอบการหมุนและเช็คทางเข้าออกน้ำถูกต้องแล้วให้นำท่อต่อทางด้านดูดจุ่มลงในน้ำ(ต้องมีหัวกระโหลกกันน้ำย้อน)
7. เติมน้ำไล่ลมที่ตัวปั้มชัก เสร็จแล้วลองเดินเครื่องว่าน้ำสามารถดูดขึ้นตามปกติไหม
8. หลังจากนั้นให้นำท่อต่อเข้ากับทางออกน้ำของตัวเครื่องและใช้งานได้ในทันที
เห็นไหมครับว่าการทำปั้มชักโซล่าเซลล์ไม่ได้มีอะไรยากเลย แต่มีจุดสังเกตและแนะนำที่ควรรู้ดังนี้

1.ถ้ามอเตอร์หมุนแต่น้ำไม่ขึ้น ให้ตรวจสอบ
   - หัวกระโหลกว่าน้ำไหลย้อนกลับไหม
   - การต่อท่อตั้งแต่ตัวเครื่องขาน้ำเข้า มีอากาศเข้าได้ไหม ซึ่งบางครั้งมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น (อากาศเข้าเพียงนิดเดียวน้ำก็ไม่ขึ้นครับ)
   - ไม่ควรต่อท่อขาดูดยาวมากจนเกินไป ยิ่งสั้นยิ่งดี นั่นหมายความว่าปั้มของท่านควรอยู่ใกล้แหล่งน้ำนั้นๆ ถ้าจำเป็นต้องไกลสำคัญอย่างยิ่งที่จะต้องเซตอุปกรณ์ให้ดี
   -  ถ้าดูทุกอย่างดีแล้วน้ำไม่ขึ้น อาจมีปัญหาที่ตัวปั้มชักเองอาจรั่วอากาศเข้า หรือลูกยางอาจมีปัญหา
2.ข้อควรระวัง
   - ไม่ควรต่อสายไฟจากระบบจ่ายไฟยาวเกินไปจะทำให้เกิดการสูญเสียในสายและแรงดันไฟตก ทำให้มอเตอร์ทำงานได้ไม่เต็มที่หรือไม่ทำงานเลยก็ได้
  -  ควรระวังความร้อนที่ตัวมอเตอร์ ใช้งานแรกๆ ควรมั่นเช็คความร้อน ถ้าถึงขนาดจับไม่ได้เลย2-3วินาที ต้องปิดพักใช้งานทันที
  -  การแก้ไขปัญหามอเตอร์ร้อน แก้โดยวิธีง่ายๆโดยใช้พัดลมดีซีต่อสายเดียวกันเป่าที่ก้นมอเตอร์เพื่อระบายความร้อน
  -  ต้องการใช้มอเตอร์ทั้งวันแต่มอเตอร์ร้อนบ่อยลำบากที่ต้องปิดเปิดบ่อยๆ และป้องกันการหลงลืม แนะนำให้ใช้ ทามเมอร์รีเลย์ (ของเรามีจำหน่า่ย) ตั้งช่วงเวลาทำงาน และหยุดพักสลับกันได้ทั้งวัน (กรณีใช้ทามเมอร์รีเรย์ ควรต่อผ่านแบตเตอรี่เพื่อป้องกันการเสียหายตัวทามเมอร์)
ลองทำใช้งานดูกันนะครับ ติดปัญหาติดต่อสอบถามได้ที่ไอดีไล @mrtoolshop ได้ครับ

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 

Naite high-speed permanent magnet DC motor MY1016-250W24V / scooters small electric motor brush motor

Rated Speed: 2650RPM
Rated output power: 250W
Load Current: 0.7-1.4A
Rated current: ≤ 13.7 A
Load capacity: 75KG
Weight: 2KG
Installation pitch: 42-95 (of four holes)

มอเตอร์ 24โวลต์ 250วัตต์

มอเตอร์ 24v 250w

Motor Dc 24v 250w,24v Dc Motor 250w,มอเตอร์ 24v 250W

มอเตอร์ 24โวลต์ 250วัตต์, DC Motor 24V 250W

มอเตอร์จักรยานไฟฟ้า DC 24V 250W,มอเตอร์จักรยานไฟฟ้าDC 24V
Motor Dc 24v 250w,24v Dc Motor 250w
Motor Dc 24v 250w

มอเตอร์ 24v 250W,24V DC Motor

24V DC Motor,ปั้มชักกับมอเตอร์ 24VDC,ปั้มชักกับมอเตอร์ 24VDC 250W

ปั้มชักกับมอเตอร์ 24VDC,ปั้มชักกับมอเตอร์ 24VDC 250W

ปั้มชักกับมอเตอร์ 24VDC 250W,ปั้มชักมอเตอร์ DC 24V, DC Motor24V

เขียนข้อคิดเห็น

ชื่อของคุณ:


ความคิดเห็น: หมายเหตุ: ไม่รองรับข้อความที่มีรูปแบบ เช่น HTML!

ให้คะแนน: แย่            ดี

พิมพ์รหัสป้องกันสแปม: